จำนวนการดูหน้าเว็บรวม

วันเสาร์ที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2555

บุคลิกภาพในการนำเสนอ

บุคลิกภาพขณะนำเสนอ
             บุคลิกภาพขณะนำเสนอ คือ สภาวะทุกอย่างของผู้นำเสนอ ทั้งสภาวะทางกายและจิตใจ ซึ่งมีอิทธิพลต่อการกระทำในระหว่างการนำเสนอ บุคลิกภาพที่ดีเป็นสิ่งสำคัญที่ทำให้เรามั่นใจในขณะพูด และทำให้ผู้ฟังเกิดความรู้สึกประทับใจ และสนใจติดตามฟัง โดยไม่รู้สึกเบื่อหรือง่วงนอนก่อนที่เราจะพูดจบ


บุคลิกภาพที่ดีในการนาเสนอนั้นประกอบด้วย


  • การแต่งกาย
  • การใช้ภาษา
  • การใช้เสียง/จังหวะการพูด
  • การแสดงออกที่เหมาะสม
การแต่งกาย(Dressing)
     การแต่งกายเป็นจุดแรกที่ดึงดูดสายตาผู้คน เครื่องแต่งกายเป็นตัวบ่งบอกถึงบุคลิก นิสัย ความเป็นมืออาชีพ อีกทั้งทาให้ผู้ฟังรู้สึกประทับใจ ก่อให้เกิดทัศนคติที่ดีอยากติดตามฟัง


เทคนิคการแต่งกาย
    ผม 
- เล็บตัดสั้น ให้เป็นระเบียบเรียบร้อย

   เครื่องประดับ
 - ควรมีแต่พอเหมาะ

   เสื้อผ้า
- แต่งกายให้สะอาด สุภาพ เรียบร้อย สีที่เรียบ ไม่ฉูดฉาด
- แต่งกายให้เหมาะสมกับกาลเทศะและสถานที่
- ไม่ควรใส่กระโปรงยาวหรือสั้นเกินไป(สาหรับสุภาพสตรี)

การใช้ภาษา
  • ใช้ภาษาให้เหมาะกับกลุ่มผู้ฟัง
  • ภาษาที่ใช้ต้องมีความชัดเจน
  • ใช้ภาษาที่สุภาพ อักขระถูกต้อง และเข้าใจง่าย
  • กะทัดรัดได้ใจความ ไม่ใช้คาฟุ่มเฟือยมีลาดับขั้นตอนการนาเสนอ อธิบายเป็นเหตุ - ผล สอดคล้องกัน
  • พยายามเลี่ยงศัพท์เทคนิคที่ไม่จาเป็น ถ้าจาเป็นควรขยายความ
  • ไม่พูดคาติดปาก เช่น เอ้อ อ้า แบบว่า เป็นต้น
การใช้เสียง/จังหวะการพูด
  • เป็นธรรมชาติ ไม่ทุ่มหรือแหลมจนเกินไป
  • พูดด้วยความเร็วที่เหมาะสม ไม่เร็วหรือช้าจนเกินไป
  • พูดให้ดังและชัดเจน ไม่ใช้ระดับเสียงเดียวรู้จักการใช้เสียงสูง –ต่า ในการเน้นความหมายอย่างเหมาะสม
  • เว้นวรรคคาให้ถูกต้อง
  • ควรหยุดในบางจังหวะการพูด                                                                                                              -เพื่อให้เวลาผู้ฟังในการจับประเด็นได้ทัน                                                                                                    -เพื่อให้เวลาผู้ฟังในการทาความเข้าใจเนื้อหาที่เราพูด
การแสดงออกที่เหมาะสม
การใช้สายตา (Eye Contact)
ภาษากาย (Body Language)

“การนาเสนอ ถึงแม้เนื้อหาสาระจะดีเพียงใด
หากมีการแสดงออกที่ไม่เหมาะสมอาจทาให้งานเสนอนั้นๆ หมดคุณค่าได้”

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น